ทราบกันดีอยู่แล้วว่าในแต่ละท้องถิ่นของประเทศไทยนั้นมีประเพณีที่แตกต่างกันออกไป ทำให้แสดงเห็นถึงความหลากหลายของวัฒนธรรมได้มากยิ่งขึ้น ประเพณีของแต่ละพื้นที่นั้นจะช่วยเอกลักษณ์ที่โดดเด่น เป็นสีสันให้กับประเทศไทยอีกทั้งยังเป็นวัฒนธรรมอันดีงามที่ส่งต่อให้แก่คนรุ่นหลัง
วันนี้เราจะมี ประเพณีไทย ของชาวล้านนาที่จะนิยมทำกันมากตั้งแต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบันนั่นคือ พิธีเรียกขวัญ จะมีรายละเอียดใดที่น่าสนใจบ้างนั้น ไปติดตามกันเลย
1. พิธีเรียกขวัญ สำหรับเราชาวไทยนั้นเชื่อกันว่าทุกคนมีขวัญประจำตัว กันมาตั้งแต่เกิดอยู่แล้ว แต่ในทางความเชื่อ ถ้าหากเกิดเหตุเภทภัยหรืออันตรายใดๆมาทำให้ขวัญนั้นไม่อยู่กับตัว จะทำให้เกิดการเจ็บไข้ได้ป่วย ดังนั้น จุดประสงค์หลักของการทำ พิธี เรียกขวัญ นี้ขึ้นมาก็เพื่อที่จะเพิ่มกำลังใจ ในการต่อสู้กับอุปสรรค
2. ในปัจจุบันพิธีเรียกผ่อนนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ลักษณะ คือ การเรียกขวัญผู้ป่วย จะประกอบพิธีนี้ขึ้นมาก็เพื่อที่จะยาวๆสภาพจิตใจของผู้ป่วยให้กลับมามีกำลังใจ และช่วยให้อาการป่วยนั้นดีขึ้น การเรียกขวัญหยิบข้าว เป็นพิธีที่จะช่วยตรวจสอบว่าขวัญนั้นกลับเข้าเนื้อเข้าตัวแล้วหรือไม่ พิธีกรรมเรียกขวัญตั้งไข่ และการเรียกขวัญปักเทียนเป็นการทำเพื่อหาสาเหตุของอาการเจ็บป่วยเหล่านั้น และการเรียกขวัญเข้าร่างจะเป็นพิธีกรรมที่ประกอบขึ้นสำหรับผู้ที่มีอาการป่วยหนัก
3. ประเพณีไทย ในการประกอบ พิธี เรียกขวัญ สามารถทำได้โดยการ ให้ผู้ป่วยหรือญาติผู้ป่วยจัดด้ายแดงด้ายขาว โดยมีความยาว 1 คืบจำนวน 1 เส้น พร้อมด้วยหมาก 3 คำ บุหรี่ 3 ม้วน เงิน 12.50 บาท บาทและเหล้าขาว 1 ขวด เป็นค่าในการประกอบพิธีกรรม
4. โดยผู้เรียกขวัญนั้นจะต้องนำด้ายแดง และได้ขาวมาวางไว้ที่ข้อมือของผู้ป่วย จากนั้นจะทำการท่องคำเรียกขวัญให้กลับเข้าตัว ถือเป็นอันเสร็จสิ้นพิธี ชาวบ้านจะมีความเชื่อกันว่าอาการของผู้ป่วยนั้นจะดีขึ้น มีขวัญกำลังใจในการต่อสู้กลับโรคภัยไข้เจ็บหรืออาการป่วยที่เกิดขึ้นนั้นได้เป็นอย่างดีนั่นเองเป็นอย่างไรกันบ้างสำหรับ พิธี เรียกขวัญ ที่เรานำมาฝากกันในวันนี้ จะเห็นได้ว่าเป็นอีกหนึ่ง ประเพณีไทย ที่ยังคงสืบทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น จวบจนถึงปัจจุบันนี้ก็ยังคงมีการประกอบพิธีกรรมเรียกขวัญกันอยู่ เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการรักษาผู้ป่วยให้อาการดีขึ้น ถือเป็นอีกหนึ่ง ประเพณีไทย ที่สามารถหาชมได้ยากในปัจจุบัน
อ่านเพิ่มเติม: แมวดํา ความเชื่อ